วันพุธที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2561

เป็นโรคไตระยะที่ 4 เรื่องอาหารต้องรับประทานอาหารจำกัด

เป็นโรคไตระยะที่ 4
  เรื่องอาหารต้องรับประทานอาหารจำกัด
โปรตีนจะเป็นการชะลอความเสื่อมของไต

เริ่มที่อาหารหมวดต่างๆที่ควรเลือกก่อน

หมวดเนื้อสัตว์  
เลือกที่ไม่ติดมัน หนัง เช่นไก่ หมู 
ถ้าเป็นปลาก็ยิ่งดีเพราะไขมันน้อย
แล้วก็ไข่ขาว

อาหารที่ควรเลี่ยงพวกเครื่องในสัตว์ทุกชนิด 
ไข่แดง  เพราะฟอตเฟสเเละคลอเลสเตอรอลสูง 
 หมึก หอย 

 ปริมาณเนื้อสัตว์(สุก) 
ที่รับประทานวันละ 6 ช้อนกินข้าว 
(1ช้อนกินข้าวหนักราว 15 กรัม 
หรือตักเต็มช้อนพูนนิดๆ ) 

ไข่ขาวสุก 1 ฟองให้โปรตีน
เท่ากับเนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว

--------------------------------------------------------

หมวดข้าวแป้ง
เลือกข้าวที่ขัดสีเช่น ข้าวขาว
เส้นใหญ่/เล็ก
มีเหตุผลที่ถ้าเป็นข้าวกล้องหรือธัญพืช
ฟอสเฟตจะสูง  

อาหารพวกข้าวแป้งนี้
มีโปรตีนอยู่ด้วยส่วนหนึ่ง 
ตอนนี้ต้องจำกัดโปรตีน
ให้รับประทานมื้อละประมาณ 1.5 - 2 ทัพพี
 (ประมาณ 1 ฝ่ามือ หรือ 60 กรัมของข้าวสุก) 

รับประทานข้าวปริมาณน้อยไม่อิ่มแน่ๆ
จึงต้องมี แป้งปลอดโปรตีนเพื่อให้อิ่ม 
ชื่อก็บอกแล้วว่าไม่มีโปรตีนแต่ให้พลังงาน
 ตัวอย่างแป้งพวกนี้คือ

แป้งถั่วเขียว/อาหารที่ทำจากแป้งถั่วเขียว 
เช่น วุ้นเส้น(ทำเป็นกับข้าว หรืออาหารจานเดียว)  
สลิ่ม (เป็นเบาหวานให้ใช้น้ำตาลเทียม)  
เส้นเซี่ยงไฮ้ (ทำกับข้าว/อาหารจานเดียว
เหมือนวุ้นเส้น   สาคู ทำเป็นขนม เช่นหยกมณี
สาคูเปียก วุ้นต่างๆ(ที่ทำจากผงวุ้นตรานางเงือก ฯลฯ)

แป้งมัน  เช่น ลอดช่องแก้ว ครองแครงแก้ว 

**สังเกตว่าแป้งปลอดโปรตีนเมื่อสุกแล้วจะใส**

 วุ้นเส้น เส้นเซียงไฮ้ แป้งจากถั่วเขียว
สลิ่ม สาคู ผงวุ้นที่ทำวุ้น แป้งมัน
---------------------------------------------------------------

หมวดผัก
 รับประทานวันละ 3 ส่วน หรือ 3 ทัพพี 
( 1 ทัพพีคือผักสุกประมาณ 1 ฝ่ามือ) 
ผักที่รับประทานได้เพราะ
โพแทสเซียมค่อนข้างต่ำได้แก่ 

- ถั่วงอก (ชื่อถั่วแต่ฟอตเฟสไม่สูง) 
ตำลึง มะระ บวบ มะเขือยาว เห็ดหูหนู ถั่วฝักยาว
 หอมใหญ่ 

ผักที่ควรเลี่ยงคือผักที่โพแทสเซียมสูง 
อาทิผักหัวๆทั้งหลายเช่น
มันฝรั่ง มันเทศ ฟักทอง แครอท  
ผักสีเข้มๆ คะน้า บล๊อกโคลี่ มะเขือเทศ

*** ถ้าไม่แน่ใจให้ลอกผิว/เปลือก 
หั่นเป็นชิ้น แล้วแช่น้ำทิ้งไว้สักคืน(เหมาะกับผักหัว)
แล้วนำไปต้มแล้วเทน้ำทิ้ง เป็นการลดโพแทสเซียม


-------------------------
----------------------


ผลไม้ ทานวันละ 1 ส่วน 
 1 ส่วนของผลไม้คือจะมีความหวาน
หรือน้ำตาลเท่ากันเช่น

สับปะรด 8 ชิ้นพอคำ     
แอปเปิ้ล 1 ลูกเล็ก  
องุ่นเขียว ราวๆ 12 เม็ด
มะม่วงดิบ 8 ชิ้นพอคำ     
ส้มโอ 1 กลีบใหญ่   
ชมพู่  3ลูก   
เงาะ 4 ลูก
มังคุด 4 ลูกเล็ก

เหล่านี้เป็นผลไม้
ที่โพแทสเซียมค่อนข้างต่ำ

!! ผลไม้ที่ควรเลี่ยง 
ทุเรียน ขนุน แก้วมังกร มะละกอ 
มะเฟือง น้ำมะพร้าว น้อยหน่า มะยงชิด
มะปราง ผลไม้แห้งทุกชนิด  น้ำผลไม้ทุกชนิด 

ถ้าโพแทสเซียมในเลือดเริ่มค่อนสูง
คุณหมออาจให้งดผลไม้
------------------------------------------------------------------

น้ำมัน ใช้พวกน้ำมันถั่วเหลือง รำข้าว มะกอก

------------------------------------------------------------------

ห้ามใช้ เครื่องปรุงรสโซเดียมต่ำ 
เพราะผลิตภัณฑ์พวกนี้มีเกลือโพแทสเซียม

ให้ใช้ซีอิ๊ว ธรรมดาแต่ปรุงรสอ่อนเค็ม 
เลี่ยงผงชูรส ซุปก้อน ผงปรุงรส

ใช้  มะนาว สมุนไพร อาทิ ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูดรากผักชี กระเทียม
 ช่วยปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารได้ 

ใช้  น้ำตาลเทียมได้

----------------------------------------------

เลี่ยงโปรตีนจำพวก รังนก ซุปเปอร์เล้ง
เอ็นตุ๋นต่างๆ  ตีนไก่  แค๊ปหมู หูฉลาม  
เจลาติน(เยลลี่) เพราะเป็นโปรตีน
ทีมีกรดอะมิโนไม่ครบ ร่างกายดึงไปใช้ไม่หมด 
ต้องเป็นภาระของไตที่ต้องขับออก

เลี่ยงซุปไก่สกัด เนื่องจาก โซเดียม
(สิ่งที่ทำให้ความดันขึ้น)
 ค่อนข้างสูง และแสลงกับผู้ที่เป็นเกาต์ 
-------------------------------------------------------

ห้าม ยาหม้อ ยาสมุนไพร  ไตจะทรุดเร็วขึ้น  
ห้ามซื้อยาแก้ปวดกินพร่ำเพรื่อ 
จำพวกยาแก้ปวดกระดูกทั้งหลาย 
----------------------------------------------------

ลืมอีกอย่าง อาหารที่ฟอตเฟสสูงควรเลี่ยง 
คือพวกนม และทุกอย่างที่มีนมผสม 
ถั่วทุกอย่าง น้ำเต้าหู้ ธัญพืชทุกชนิด 
(น้ำข้าวกล้องด้วยนะ)  โค้ก เป๊บซี่
สัตว์ที่กินได้ทั้งกระดูก ไข่แดง  

เครื่องดื่มที่ให้ได้เป็นพวกน้ำขิง น้ำมะนาว
น้ำใบเตย(ใชน้ำตาลเทียม)

 กาแฟถ้าไม่ติดก็ดีแล้ว ถ้าติดให้ทานเป็นกาแฟดำ

หมายเหตุ 
 แนะนำจำกัดโปรตีนที่ 30-35 กรัม / วัน 
(ที่บอกว่าทานเนื้อสัตว์ได้วันละ 6 ช้อน 
ข้าว 1.5-2 ทัพพี/มื้อ  
ผัก 3 ทัพพี 
ผลไม้ 1 ส่วน 
แป้งปลอดโปรตีนไม่จำกัด
 (เเต่มีเบาหวานก็ต้องจำกัด))  

คือการจำกัดโปรตีนไม่ให้มากไป
จนเกิดของเสียเยอะ 
และไม่น้อยไปจนขาดโปรตีนและพลังงาน

----------------------------------------------------

ขอบคุณข้อมูล พันทิป 



#umiบำรุงตับไต 
#umiขายดีอันดับหนึ่ง 

ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 

วันเสาร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561

ข้าวและแป้งสำหรับผู้ป่วยไตเสื่อมควรรู้

ข้าวและแป้ง เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ! 
เพื่อใช้ในการทำงานของอวัยวะภายใน 
และการทำงานในกิจวัตรประจำวัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังซึ่งได้รับการจำกัดเนื้อสัตว์ จำเป็นต้องได้รับพลังงาน จากอาหารให้เพียงพอ เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกาย นำโปรตีนที่ได้รับเข้าไปถูกเปลี่ยนไปเป็นพลังงานแทน ซึ่งจะเป็นผลทำให้ร่างกายขาดโปรตีนได้

อาหารจำพวกแป้ง

1. แป้งที่มีโปรตีน ได้แก่ ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง ขนมจีน บะหมี่ ข้าวโพด เผือก และมัน โปรตีนจากแป้ง เป็นโปรตีนคุณภาพไม่ดี ผู้ที่ถูกจำกัดโปรตีนจึงไม่ควรรับประทานข้าวหรือแป้งมากเกินไป ควรได้รับมื้อละ 2-3 ทัพพีเล็ก หรือข้าวเหนียวนึ่ง 1/2 ทัพพี ถ้าชอบขนมปังให้ใช้ขนมปังขาว 2-3 แผ่น ถ้าไม่อิ่มให้ใช้แป้งที่ไม่มีโปรตีนทดแทน
2. แป้งที่ไม่มีโปรตีนหรือมีโปรตีนต่ำได้แก่ วุ้นเส้นถั่วเขียว ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ แป้งมัน แป้งข้าวโพด และสาคู ผู้ป่วยไตเรื้อรังควรเลือกแป้งเหล่านี้ในการประกอบอาหาร และรับประทานแทนข้าวก๋วยเตี๋วยในบางมื้อ จะทำให้ได้พลังงานเพิ่มขึ้นโดยไม่ไปเพิ่มของเสียจากโปรตีน

อาหารจากแป้งที่ไม่มีโปรตีน รับประทานได้เป็นประจำ

อาหารที่ทำจากวุ้นเส้น เช่น วุ้นเส้นต้มยำ แกงจืดวุ้นเส้น ผัดวุ้นเส้น วุ้นเส้นผัดไท ย้ำวุ้นเส้น หรือ อาหารที่ทำจากก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ ขนมกุยช่าย ไม่ใส่ซีอิ๊ว

อาหารจากแป้งที่ควรหลีกเลี่ยง

อาหารจากแป้งบางประเภท มีความเค็มมากและมีไขมันสูง เช่น ข้าวคลุกกะปิ ข้าวผัดน้ำพริก ข้าวผัดแหนม ข้าวราดแกงกะทิ ก๋วยเตี๋ยวผิดซีอิ๊ว บะหมี่สำเร็จรูป ขนมจีน น้ำยากะทิ ขนมจีนน้ำพริก มันทอด ข้าวโพดคั่ว ข้าวเหนียวปิ้ง เป็นต้น

===========
รับข้อมูลสุขภาพไตเพิ่มเติม
 คลิ๊กได้ที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติเลยค่ะ http://bit.ly/gelsociety

วันพฤหัสบดีที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2561

เมื่อคุณหมอบอกว่าคุณพ่อต้องฟอกไต ไม่อยากฟอกไต

#เมื่อคุณหมอบอกว่าคุณพ่อต้องฟอกไต

คุณพ่อวัย 80 ปี
ป่วยเป็นไตเสื่อมเรื้อรังระยะสุดท้าย

อาการ ไม่มีแรง บวม

คุณหมอแจ้งมาว่า จะต้องฟอกไต
แต่คุณพ่อไม่ยอม


ลูกสาวศึกษาข้อมูล
เป็นอย่างดี จึงตัดสินใจ
สั่ง UMI ให้คุณพ่อทาน

ผลลัพธ์ประทับใจมาก
ทานเพียง 15 วัน
ตอนนี้ คุณพ่อสดชื่นขึ้น
มีแรงเดินเหินได้คล่องขึ้น




ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 
ศึกษา http://bit.ly/kidney-how
==============


สำหรับคุณลูกค้าของจอยริน
สามารถติดตามข้อมูลสุขภาพ
ได้ฟรี ๆๆ ที่ line official ของจอยริน

กดที่ลิงค์แอดไลน์อัตโนมัติ 
ด้านล่างได้เลยค่ะ




โปรตีนสำหรับผู้ป่วยโรคไต ทานแบบไหนดีกับสุขภาพ

โปรตีนสำหรับผู้ป่วยโรคไต
ทานแบบไหนดีกับสุขภาพ  

บุคคลธรรมดาทั่วไป
อาจไม่จำเป็นต้องจำกัดโปรตีนในมื้ออาหาร 
แต่สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
ต้องชะลอการเสื่อมของไต 
การรับประมาณโปรตีนในปริมาณสูง
ทำให้ไตต้องทำงานหนักขึ้น 

โปรตีนที่ควรทานสำหรับโรคไต 
ควรจะเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพสูง 
คือ เนื้อปลา เนื้อไก่ เนื้อไข่ หรือในสัตว์เนื้อขาว 

ส่วนโปรตีนที่อาจจะมีปัญหา 
คือโปรตีนที่มีฟอสฟอรัสเยอะซึ่งอยู่ในสัตว์เนื้อแดง 
อันนี้จะต้องระวังมาก และก็ต้องระวังเรื่องความเค็ม 
โดยใส่น้ำปลาให้น้อย หรือปรุงให้น้อยนั้นเอง

===============
รวมข้อมูลการดูแลผู้ป่วยโรคไตคะ
http://www.gelsociety.com/kidney-umi-howto/

===============
#umiบำรุงตับไต 
#umiขายดีอันดับหนึ่ง 
#umiราคาถูกที่สุด 
#umiของแท้จากอเมริกา

ผลลัพธ์ผู้ป่วยไตเสื่อมกับ UMi
https://youtu.be/1LeMTGOzlps


ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 
ศึกษา http://bit.ly/kidney-how